รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์/หลักสูตรรัฐศาสตร์
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
2552113 การเมืองเปรียบเทียบ
Comparative
Politics
2. จำนวนหน่วยกิต
3
(3-0-6) หน่วยกิต
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตรรัฐศาสตร์
กลุ่มวิชาบังคับ (รัฐศาสตร์)
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ผู้สอน อ.ธนันท์วัฒน์
สภานุรัตน์
ตอนเรียน A1
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 2 ปี 2555 / ชั้นปีที่ 2
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน
(Pre-requisite) (ถ้ามี)
ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน
(Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
หลักสูตรรัฐศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
21 พฤษภาคม
พ.ศ. 2555
หมวดที่
2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของการเมืองเปรียบเทียบ
2. เพื่อศึกษาแนวทางการวิเคราะห์โครงสร้างองค์ประกอบการเมืองเปรียบเทียบ
3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองของประเทศต่างๆ
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
1. เพื่อเป็นการสร้างความรู้พื้นฐานด้านการเมืองเปรียบเทียบที่เหมาะสมกับมาตรฐานการเรียนรู้ของนักศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตร์
2. เพื่อเป็นการส่งเสริมความสามารถในการศึกษาค้นคว้า
ประยุกต์ใช้แนวความคิด หลักการ ทฤษฎีมาวิเตราะห์การเมืองของประเทศต่างๆ
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
หมวดที่
3 ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของการเมืองเปรียบเทียบ
แนวทางการวิเคราะห์การเมืองเปรียบเทียบ
โครงสร้างองค์ประกอบ โดยการยกกรณีศึกษาเปรียบเทียบของประเทศต่างๆ
เกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมืองเหล่านี้ในประเด็นสำคัญ
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
|
สอนเสริม
|
ฝึกปฏิบัติ
|
การศึกษา
ด้วยตนเอง
|
45
ชั่วโมงต่อ
ภาคการศึกษา
|
ให้คำปรึกษา แนะนำ สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเป็นรายกลุ่ม
เพื่อทบทวนองค์ความรู้ให้ชัดเจนและแม่นยำยิ่งขึ้น
|
-
|
90
ชั่วโมงต่อ
ภาคการศึกษา
|
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น
รายบุคคล
1. อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่าน
website
2. อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล
หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
หมวดที่
4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญได้
(3) มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม
จริยธรรม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
โดยเน้นการตรงเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น รู้จักหน้าที่การทำงานเป็นกลุ่ม
รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์ นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม
จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้ง มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น
การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม
จริยธรรม
(1) ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
(2)
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ความรู้
2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด
ทฤษฎีและเนื้อหาสาระสำคัญของรายวิชาที่เกี่ยวกับสาขาวิชารัฐศาสตร์
และหรือรัฐประศาสนศาสตร์
(2) สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปร่วมพัฒนาแก้ไขปัญหาและนำความรู้ทางรัฐศาสตร์และหรือรัฐประศาสนศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ได้จริง
(3) สามารถบูรณาการในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ตลอดเวลาที่นักศึกษาทำการศึกษาอยู่ในหลักสูตรและสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสม
2.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
ใช้วิธีการสอนในหลากหลายโดยเน้นหลักการทางทฤษฎี
และประยุกต์ใช้ศาสตร์เพื่อปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
และสามารถปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทั้งนี้
ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4) ประเมินจากการจัดกิจกรรมในชั้นเรียน
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ และมีตรรกะ
(2) มีความสามารถในการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น
(3) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะ ตามกรอบทฤษฎี แนวคิด
ประสบการณ์และ
ตัวอย่างที่ศึกษามาทำการแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
ใช้กรณีศึกษาโดยการประยุกต์ใช้ศาสตร์ทางด้านรัฐศาสตร์
และรัฐประศาสนศาสตร์
ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม
มีการอภิปรายกลุ่ม และเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ใช้ความรู้ เพื่อการปฏิบัติงานจริง
3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญานี้
สามารถทำได้โดยการออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดของการแก้ปัญหา
และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา
หลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกคำตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
ไม่ควรมีคำถามเกี่ยวกับนิยามต่างๆ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน
และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มีความสามารถในการสื่อสารกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างและหลากหลายได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(2) มีความเข้าใจผู้อื่น และสังคมและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม
(3) สามารถแก้ไขปัญหา
หรือความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
(1)
สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2)
มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
(4)
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5)
มีภาวะผู้นำ
4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ดำเนินกิจกรรม
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1)
มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์
ที่จำเป็นต่อการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถสื่อสารแนะนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้านการพูดการเขียน
ตลอดจนสามารถเลือกใช้สื่อและเครื่องมือในการนำเสนอผลงานได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
(3)
สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นได้อย่างดี
5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใช้กลยุทธ์การสอนที่เน้นการพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ทักษะในการวิเคราะห์และการสื่อสาร
เช่น การนำเสนอข้อมูลสถิติ ตัวเลข และการวิเคราะห์
โดยเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ
ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์จริง
และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี
การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด
เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ
ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
หมวดที่
5 แผนการสอนและการประเมินผล
1.
แผนการสอน
สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ/รายละเอียด
|
จำนวน
ชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี)
|
ผู้สอน
|
1
|
แนะนำรายวิชา
การเมืองเปรียบเทียบ
|
3
|
อาจารย์แนะนำตัว
-
อธิบายวัตถุประสงค์
เนื้อหา
-
อธิบายวิธีการเรียนการสอน
-
อธิบายเกณฑ์การวัดและการประเมินผล
-
แนะนำตำรา หนังสือ
และแหล่งข้อมูลต่างๆ
-
ใช้สื่อ Power
Point
-
เข้าสู่ Web
Site ต่างๆ
-
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
2
|
หน่วยที่ 1
-
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
3
|
หน่วยที่ 2
-
แนวคิดเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ
(1)
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
4
|
หน่วยที่ 3
-
แนวคิดเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ
(2)
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
5
|
หน่วยที่ 4
-
ประวัติสหรัฐอเมริกา
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
6
|
หน่วยที่ 5
-
ลักษณะทั่วไปของสหรัฐอเมริกา
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
7
|
หน่วยที่ 6
-
การเมืองการปกครองของสหรัฐอเมริกา
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
8
|
สอบกลางภาค
|
2
|
แบบทดสอบวัดความรู้
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
9
|
หน่วยที่ 7
-
ประวัติสหราชอาณาจักร
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
10
|
หน่วยที่ 8
-
ลักษณะทั่วไปของสหราชอาณาจักร
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
11
|
หน่วยที่ 9
-
การเมืองการปกครองของสหราชอาณาจักร
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
12
|
หน่วยที่ 10
-
ประวัติสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
13
|
หน่วยที่ 11
-
ลักษณะทั่วไปของสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
14
|
หน่วยที่ 12
-
การเมืองการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
15
|
สรุปเนื้อหาของรายวิชา และแนะนำแนวข้อสอบ
|
3
|
-
ใช้สื่อ Power
Point ประกอบการบรรยาย
-
เอกสารประการสอน
-
สืบค้นข้อมูล Web
Site ต่างๆ
-
ให้นักศึกษาอภิปราย
ร่วมสรุปและซักถามประเด็นต่างๆ
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
16
|
สอบปลายภาค
|
2
|
แบบทดสอบวัดความรู้
|
อ.ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์
|
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้*
|
กิจกรรมการประเมิน
|
สัปดาห์ที่ประเมิน
|
สัดส่วนของการประเมินผล
|
ทดสอบย่อย
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
|
1-14
8
16
|
60%
|
|
การเข้าชั้นเรียน
การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นใน
ชั้นเรียน
|
ตลอดภาคการศึกษา
|
15%
|
|
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน
การทำงานกลุ่มและผลงาน
การอ่านและสรุปบทความ
|
1-14
|
25%
|
|
* ระบุผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยตามแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้
|
หมวดที่
6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตำราหลัก
จุฑารัตน์ บางยี่ขัน, การเมืองสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส,
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง : กรุงเทพมหานคร, 2543.
ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์. การเมืองเปรียบเทียบ.
เอกสารประกอบการสอน. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (2555).
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, การเมืองอเมริกา,
สำนักพิมพ์เสมาธรรม : กรุงเทพมหานคร, 2544.
อรพินท์ ปานนาค, ประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา 1,
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง : กรุงเทพมหานคร, 2543.
Almond, Gabriel A. Comparative Politics
Today: A World View, Update, Longman; 9 edition, 2009
Clark, William Roberts. Principles
Of Comparative Politics, CQ
Press, 2008
Jones, Bill. Politics UK, Longman; 7 edition, 2010
Kesselman, Mark. Introduction to
Comparative Politics: Political Challenges and Changing Agendas, Wadsworth Publishing; 4 edition, 2006
Sigh, Robert. American Government and Politics: A Concise
Introduction London, GBR : Sage Publications, Incorporated, 2003.
Wasserman,
Gary. The Basics of American Politics, Twelfth Edition, Pearson Longman,
2008.
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
http://english.gov.cn/about/politics.htm
http://english.gov.cn/links/democraticparties.htm
http://www.china.org.cn
http://www.china.org.cn/english/features/legislative/75857.htm
http://www.china.org.cn/english/Judiciary/31279.htm
http://www.china.org.cn/english/Judiciary/31280.htm
http://www.china.org.cn/english/Political/25060.htm
http://www.china.org.cn/english/Political/26143.htm
http://www.direct.gov.uk/en/Governmentcitizensandrights/UKgovernment/Parliament/DG_073479
http://www.direct.gov.uk/en/Governmentcitizensandrights/UKgovernment/Parliament/DG_073671
http://www.direct.gov.uk/en/Governmentcitizensandrights/UKgovernment/Parliament/DG_073604
http://www.english.gov.cn
http://www.judiciary.gov.uk/about-the-judiciary/introduction-to-justice-system/history-of-the-judiciary
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/node_2824.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/news/
http://www.number10.gov.uk/the-coalition/deputy-prime-minister-nick-clegg-biography/
http://www.number10.gov.uk/the-coalition/prime-minister-david-cameron-biography/
http://www.number10.gov.uk/the-coalition/the-cabinet/http://www.wikipedia.org
http://www.xinhua.org/english/
https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/uk.html#top
https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/ch.html#top
https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/us.html#top
http://www.whitehouse.gov/our-government/executive-branch
http://www.whitehouse.gov/administration/president-obama/
http://www.whitehouse.gov/administration/first-lady-michelle-obama
http://www.whitehouse.gov/administration/vice-president-biden
http://www.whitehouse.gov/administration/jill-biden
http://www.whitehouse.gov/administration/cabinet
http://www.whitehouse.gov/administration/other-advisory-boards
http://www.whitehouse.gov/our-government/legislative-branch
http://www.whitehouse.gov/our-government/judicial-branch
http://www.whitehouse.gov/our-government/the-constitution
http://www.whitehouse.gov/our-government/elections-and-voting
http://www.whitehouse.gov/our-government/state-and-local-government
http://www.whitehouse.gov/our-government/federal-agencies-and-commissions
http://www.whitehouse.gov/our-government/resources
http://english.gov.cn/2008-03/15/content_921044.htm
http://english.gov.cn/2008-03/15/content_921051.htm
http://english.gov.cn/2008-03/16/content_921750.htm
http://english.gov.cn/2008-03/16/content_921792.htm
http://english.gov.cn/2008-03/16/content_921794.htm
http://english.gov.cn/2008-03/16/content_921795.htm
http://english.gov.cn/2005-08/29/content_27294.htm
http://english.gov.cn/2007-10/22/content_923081.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372964.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372990.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372989.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372968.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372967.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372962.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372963.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372966.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372965.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372964.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372991.htm
http://www.npc.gov.cn/englishnpc/Constitution/2007-11/15/content_1372992.htm
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ
เช่นเดียวกับเอกสารและข้อมูลสำคัญ
หมวดที่
7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและนักศึกษา
2. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนโดยผู้เรียน
3. การใช้แบบสอบถามประเมินผู้สอน
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
1. การสังเกตการสอนของอาจารย์ประจำหลักสูตรในชั้นเรียน
2. การใช้เครื่องมือวัดประเมินที่มีความหลากหลาย
เช่น การถามตอบ การทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
การประเมินชิ้นงานเดี่ยวและงานกลุ่ม
3. การปรับปรุงการสอน
นำผลที่บันทึกได้หลังจากการสอน
การจัดกิจกรรม และการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน
มาปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยวิเคราะห์ความแตกต่างของผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน กิจกรรม วิธีการให้คะแนน
อีกทั้งจัดทำข้อสอบมาตรฐานของรายวิชา
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
1. นำผลการบันทึกตามข้อ
3 มาปรับปรุงการเรียนการสอนทุกปีการศึกษา
เพื่อให้เกิดมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามข้อ 4
2. ร่วมกันค้นหาประเด็น หรือมุมมองใหม่ระหว่างผู้สอนกับนักศึกษาด้วยการจัดกิจกรรม
หรือร่วมงานตามที่หน่วยงานอื่นๆ จัดขึ้น
หรือเชิญวิทยากรที่มีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับรายวิชาดังกล่าวมาร่วมแสดงความคิดเห็น
…………………………………………………………………………………………………………………………….
1 พฤศจิกายน 2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น