Pol Sci

วันเสาร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2554

แนวการสอน รายวิชา เหตุการณ์โลกร่วมสมัย

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


แนวการสอน

รหัสวิชา 2500115 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) เหตุการณ์โลกร่วมสมัย
(ภาษาอังกฤษ) Contemporary World Affairs

ภาคเรียนที่.1 .ปีการศึกษา..2554 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ธนันท์วัฒน์ สภานุรัตน์



e-mail ....saphanurat.n@gmail.com

หลักสูตร............. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

*****************************************************************************************



1.คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและภัยคุกคามต่างๆ สร้างความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ไข ปรับตัว เคารพในศักดิ์ศรีมนุษย์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี การปรับตัวให้อยู่ได้ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในปัจจุบันและอนาคต

2. จุดประสงค์รายวิชา

เมื่อเรียนรายวิชานี้แล้วนักศึกษาจะได้รับความรู้และทักษะ ดังนี้

2.1พุทธพิสัย (ความรู้ที่ได้รับจากการเรียน)

1) มีความรู้ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อม

2) สามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ในยุคโลกาภิวัตน์ทั้งที่เป็นโอกาสและเป็นภัยคุกคามต่อสังคมโลกและสังคมไทยได้

3) สามารถสังเคราะห์ความรู้ในรายวิชาเพื่อแก้ไขปัญหาในยุคโลกาภิวัตน์ของสังคมโลกและสังคมไทยได้

2.2จิตพิสัย (ทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม ที่ได้รับจากการเรียน)

1) เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบันและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อตนเอง สังคมไทย และสังคมโลก

2) มีทัศนะมุมมองต่อปรากฏการณ์ในโลกปัจจุบันทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

ในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม

3) เกิดจิตสำนึกรับผิดชอบในฐานะสมาชิกของสังคมไทยและสังคมโลก

2.3 ทักษะพิสัย (ความสามารถ ทักษะการปฏิบัติ การใช้ IT ที่ได้รับจากการเรียน)

1) สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้จากการเรียนรายวิชาเพื่อการปรับตัวให้ดำรงอยู่ได้ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

2) สามารถดำเนินชีวิตทุกด้านได้อย่างเหมาะสม และลดละพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อตนเองและสังคมส่วนรวม





3.วิธีการและการจัดการเรียนการสอน

3.1 การบรรยายเนื้อหาส่วนที่เป็นแนวคิดทฤษฎี ซึ่งเป็นการสอนตรง 15 ครั้ง

3.2 การบรรยายจากวิทยากรรับเชิญ

3.3 การค้นคว้าด้วยตนเองผ่านระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ (internet)

3.4 การอภิปราย / อภิปรายกลุ่มย่อย เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ หรือสังเคราะห์ความรู้ในรายวิชา



4. แนวการจัดการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ เครื่องมือ

ในการสอน การวัดผล

1

• แนวการสอน





- ชี้แจงแนวการสอน

- ให้นักศึกษามีส่วนร่วมกำหนด/ปรับเปลี่ยนกิจกรรมและกำหนดสัดส่วนคะแนนในรายวิชา - เอกสารแนวการสอน

- สื่อ Power point

- Computer และOverhead Projector - ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน



2

• การเกิดโลกาภิวัตน์

• การเปลี่ยนแปลงทางประชากรในยุคโลกาภิวัตน์

- บรรยายเนื้อหาครั้งที่ 1

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน - เอกสารแนวการสอน

- สื่อ Power point

- Computer และOverhead Projector - ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน



3

• การเปลี่ยนแปลงทางประชากรในยุคโลกาภิวัตน์

• กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อฝึกวิเคราะห์สถานการณ์

- บรรยายเนื้อหา

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน

- สื่อ Power point

- Computer และOverhead Projector

- ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน



4 • การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย



- บรรยายเนื้อหา

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน

- สื่อ Power point

- Computer และOverhead Projector

- ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน



5 • กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อฝึกสังเคราะห์ความรู้ในรายวิชา





- แบ่งกลุ่มย่อย

- ทำกิจกรรมอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน - ใบงาน

- กระดาษ และอุปกรณ์เครื่องเขียน

- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่มย่อย

- คุณภาพของผลงาน

6 • การก้าวสู่ระบบทุนนิยมโลกและการค้าเสรี

- บรรยายเนื้อหา

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน - สื่อ Power point

- Computer และOverhead Projector - ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ เครื่องมือ

ในการสอน การวัดผล

7 • กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อฝึกสังเคราะห์ความรู้ในรายวิชา





- แบ่งกลุ่มย่อย

- ทำกิจกรรมอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน - ใบงาน

- กระดาษ และอุปกรณ์เครื่องเขียน

- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่มย่อย

- คุณภาพของผลงาน

8 • การปรับตัวของรัฐชาติในกระแสการเปลี่ยนแปลง - บรรยายเนื้อหา

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน - สื่อ Power point

- Computer และOverhead Projector - ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

9 • กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อฝึกสังเคราะห์ความรู้ในรายวิชา





- แบ่งกลุ่มย่อย

-ชมV.C.D. ประกอบการบรรยาย

- ทำกิจกรรมอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน - ใบงาน

- กระดาษ และอุปกรณ์เครื่องเขียน

- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่มย่อย

- คุณภาพของผลงาน

10 • สถานการณ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ



- บรรยายเนื้อหา

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน

- สื่อ Power point

- Computer และOverhead Projector

- ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน



11 • กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อฝึกวิเคราะห์สถานการณ์





- แบ่งกลุ่มย่อย

- ทำกิจกรรมอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน - ใบงาน

- กระดาษ และอุปกรณ์เครื่องเขียน

- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่มย่อย

- คุณภาพของผลงาน

12 • สันติภาพกับมนุษยชาติ





- บรรยายเนื้อหา

- ชมV.C.D. ประกอบการบรรยาย

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน - สื่อ Power point

- V.C.D.

- Computer และOverhead Projector - ความสนใจ

- การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

13 เฉลยแบบฝึกปฏิบัติ

- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาในแบบฝึกปฏิบัติร่วมกัน แบบฝึกปฏิบัติ 10 คะแนน

14 ปัจฉิมนิเทศ ทบทวนบทเรียน - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนร่วมกัน ตำราหลักและแบบฝึกปฏิบัติ

15 สอบปลายภาค - การผ่านเกณฑ์การประเมินของมหาวิทยาลัย

5. สื่อการเรียนการสอน (เอกสาร ชุดการสอน เวบไซด์ กิจกรรม เครื่องมือหรือนวัตกรรมที่ใช้ในการสอน ฯลฯ)

(ควรมีสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย หรือกิจกรรมที่แสดงถึงผู้เรียนเป็นสำคัญ)

5.1 ตำรารายวิชาเหตุการณ์โลกร่วมสมัย

5.2 Power point สาระสำคัญของเนื้อหาแต่ละส่วน

5.3 เอกสารในห้องสมุด คอมพิวเตอร์และระบบ Internet เพื่อการสืบค้น ข้อมูลข่าวสารในหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ ฯลฯ

5.4 V.C.D. สาระสำคัญของเนื้อหาบางส่วน

5.5 ใบงาน

5.6 วิทยากรรับเชิญ



6. การประเมินผล

6.1 ประเมินผลระหว่างภาค ร้อยละ 60 แบ่งออกตามกิจกรรมและเนื้อหาดังนี้

- คะแนนการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชา ร้อยละ 30

- คะแนนจากโครงงาน 1 กิจกรรม (กลุ่ม) ร้อยละ 20

- คะแนนแบบฝึกปฏิบัติ ร้อยละ 10

6.2 ประเมินผลปลายภาค ร้อยละ 40

รวม 100 คะแนน



* โครงการรู้เท่าทันสถานการณ์โลก 20 คะแนน

โครงการรู้เท่าทันสถานการณ์โลก โดยนักศึกษาสามารถเลือกทำในประเด็นต่างๆ ที่สนใจ 1 เรื่อง อาทิ ทางด้านสังคมและวัฒนธรรม, เศรษฐกิจ, การเมืองการปกครอง, สิ่งแวดล้อม และสันติภาพ ฯลฯ ซึ่งสามารถทำขึ้นเป็นเอกสารเผยแพร่ความรู้, แผ่นพับ, โฆษณาประชาสัมพันธ์, สร้าง Website ฯลฯ ส่งพร้อม รูปเล่มรายงาน และ CD



เกณฑ์การให้คะแนนโครงการรู้เท่าทันสถานการณ์โลก (20 คะแนน)



เกณฑ์คะแนน





1.ความน่าสนใจและประโยชน์ของโครงการ และระดับความสำเร็จของโครงการ(5คะแนน) 2.ความสนใจ และความกระตือรือร้นในการดำเนินกิจกรรม

(5 คะแนน) 3. รูปเล่มและเนื้อหา

ของรายงาน

และการใช้ภาษาเชิงวิชาการ*(5 คะแนน) 4.การอภิปราย และรูปแบบการนำเสนอ โครงงานในชั้นเรียน

(5 คะแนน)

5 คะแนน โครงการน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อสังคม มาก หรือเป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ในระดับประเทศ ส่งแบบเสนอโครงการ รายงานความก้าวหน้าของโครงการครบ 2 ครั้ง และส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ตามกำหนดเวลา รายงาน มีเนื้อหาครบ ถ้วนและถูกต้อง รูปเล่มรายงานครบถ้วน และถูกต้อง และสามารถใช้ภาษาทางวิชาการได้เหมาะสม มีความพร้อมในการนำเสนอ นำเสนอตามลำดับหัวข้อโครงการ ครบถ้วน สื่อที่ใช้ในการนำเสนอมีคุณภาพดีและเหมาะสม



เกณฑ์คะแนน

1.ความน่าสนใจและประโยชน์ของโครงการ และระดับความสำเร็จของโครงกา(5คะแนน) 2.ความสนใจ และความกระตือรือร้นในการดำเนินกิจกรรม

(5 คะแนน) 3. รูปเล่มและเนื้อหา

ของรายงาน

และการใช้ภาษาเชิงวิชาการ*(5 คะแนน) 4.การอภิปราย และรูปแบบการนำเสนอ โครงงานในชั้นเรียน

(5 คะแนน)

4 คะแนน โครงการน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่งแบบเสนอโครงการและรายงานฉบับสมบูรณ์ตามกำหนดเวลา แต่ส่งรายงานความ ก้าวหน้าของโครงการตามกำหนดเวลา 1 ครั้ง รายงาน มีเนื้อหาครบ ถ้วน แต่ไม่ถูกต้อง 1- 2 หัวข้อ รูปเล่มรายงานครบถ้วน และถูกต้อง

การใช้ภาษาส่วนใหญ่เหมาะสม มีความพร้อมในการนำเสนอ แต่ไม่เรียงลำดับหัวข้อโครงการ และไม่ครบถ้วน สื่อที่ใช้ในการนำเสนอมีคุณภาพดี และเหมาะสม

3 คะแนน โครงการน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อสังคม พอสมควร ส่งแบบเสนอโครงการและรายงานฉบับสมบูรณ์ตามกำหนดเวลา แต่ไม่ได้ส่งรายงานความ ก้าวหน้าของโครงการ รายงาน มีเนื้อหาครบ ถ้วนแต่ไม่ถูกต้อง 3- 4 หัวข้อ รูปเล่มรายงานครบถ้วนและถูกต้อง

การใช้ภาษาเหมาะสมปานกลาง มีความพร้อมในการนำเสนอพอสมควร แต่ไม่เรียงลำดับหัวข้อโครงการ และไม่ครบถ้วน สื่อที่ใช้ในการนำเสนอมีคุณภาพดี และเหมาะสม

2 คะแนน โครงการน่าสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อสังคม น้อย ส่งแบบเสนอโครงการตามกำหนดเวลา แต่ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์เกินกำหนด และไม่ได้ส่งรายงานความก้าวหน้าของโครงการ รายงาน มีเนื้อหาครบถ้วน แต่ไม่ถูกต้อง 5- 6 หัวข้อ รูปเล่มรายงานไม่ถูกต้อง

การใช้ภาษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยเหมาะสม ความพร้อมในการนำเสนอน้อย ไม่เรียงลำดับหัวข้อโครงการ และไม่ครบถ้วน สื่อที่ใช้ในการนำเสนอมีคุณภาพต่ำ และไม่เหมาะสม

1 คะแนน โครงการไม่น่าสนใจ และเป็นประโยชน์ต่อสังคม น้อยมาก ส่งแบบเสนอโครงการและรายงานฉบับสมบูรณ์เกินกำหนดเวลา และไม่ได้ส่งรายงานความก้าวหน้าของโครงการ รายงาน มีเนื้อหาครบถ้วน แต่ไม่ถูกต้องตั้งแต่ 7 หัวข้อขึ้นไป รูปเล่มรายงานไม่ถูกต้อง

การใช้ภาษาต้องปรับปรุง ไม่มีความพร้อมในการนำเสนอ ไม่เรียงลำดับหัวข้อโครงการ และไม่ครบถ้วน สื่อที่ใช้ในการนำเสนอมีคุณภาพต่ำมาก และไม่เหมาะสม

เนื้อหาของรายงานประกอบด้วย

• ชื่อโครงการ

• ผู้จัดทำและอาจารย์ผู้ควบคุม

• ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ

• วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา วิธีการศึกษา ระยะเวลาและแผนการดำเนินโครงการ งบประมาณที่ใช้ ผลที่คาดว่าจะได้รับและค่าเป้าหมาย ผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ และเอกสารอ้างอิง

โดยมีรายละเอียดการประเมินผลระหว่างภาคและปลายภาค แสดงในเชิง Rubric ดังนี้

(ควรมีทั้งเนื้อหาการเรียน ตามคำอธิบายรายวิชา และการสอนคุณธรรม จริยธรรม วินัยที่พึงประสงค์)

เนื้อหากิจกรรม หรือเป้าหมาย ค่าคะแนน

0-49 ค่าคะแนน

50-59 ค่าคะแนน

60-74 ค่าคะแนน

75-89 ค่าคะแนน

90-100

1. การบรรยายสาระสำคัญแต่ละส่วนในรายวิชา - เข้าชั้นเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียน

- ไม่ค่อยตั้งใจฟังการบรรยาย

- ตอบคำถามเฉพาะเมื่อเรียกให้ตอบ

- ตอบคำถามไม่ได้เป็นส่วนใหญ่

- ไม่เคยซักถาม



- เข้าชั้นเรียนอย่างน้อยร้อยละ 60 ของเวลาเรียน

- ไม่ค่อยตั้งใจฟังการบรรยาย

- ตอบคำถามเฉพาะเมื่อเรียกให้ตอบ

- ตอบคำถามได้บ้าง



- ไม่ค่อยซักถาม - เข้าชั้นเรียนอย่างน้อยร้อยละ 60 ของเวลาเรียน

- ตั้งใจฟังการบรรยาย

- ตอบคำถามเฉพาะเมื่อเรียกให้ตอบ

- ตอบคำถามได้บ้าง



- ไม่ค่อยซักถาม - เข้าชั้นเรียนอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเวลาเรียน

- ตั้งใจฟังการบรรยาย

- กระตือรือร้นที่จะตอบคำถาม



- ตอบคำถามได้เป็นส่วนใหญ่



- ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย - เข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ



- ตั้งใจฟังการบรรยาย

- กระตือรือร้นที่จะตอบคำถาม



- ตอบคำถามได้ทุกครั้ง



- ซักถามเมื่อมีข้อสงสัย

2. การอภิปราย - มีส่วนร่วมในการอภิปรายน้อยมาก

- ไม่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเรียนรายวิชาในการอภิปราย - มีส่วนร่วมในการอภิปรายน้อย



- ประยุกต์ใช้ความรู้ในการเรียนรายวิชาในการอภิปรายได้น้อย

- มีส่วนร่วมในการอภิปรายบ้าง



- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเรียนรายวิชาในการอภิปรายได้บ้าง

- มีส่วนร่วมในการอภิปราย



- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเรียนรายวิชาในการอภิปราย

- สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย - มีส่วนร่วมในการอภิปรายอย่างสม่ำเสมอ

- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการเรียนรายวิชาในการอภิปราย

- สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย

- มีความคิดเห็นในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม





เนื้อหากิจกรรม หรือเป้าหมาย ค่าคะแนน

0-49 ค่าคะแนน

50-59 ค่าคะแนน

60-74 ค่าคะแนน

75-89 ค่าคะแนน

90-100

3. การทำกิจกรรมกลุ่มย่อย - ค้นคว้าด้วยตนเองตามที่อาจารย์มอบหมายน้อย

- มีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะทำให้การอภิปรายกลุ่มย่อยเป็นไปอย่างราบรื่น



- มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่มน้อย

- มีความสามารถ ในการทำงานเป็นทีมน้อย



- ผลงานมีคุณภาพในระดับปานกลาง-ต่ำ - ค้นคว้าด้วยตนเองตามที่อาจารย์มอบหมายน้อย

- มีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะทำให้การอภิปรายกลุ่มย่อยเป็นไปอย่างราบรื่น



- มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่มน้อย

- มีความสามารถในการทำงานเป็นทีมน้อย



- ผลงานมีคุณภาพในระดับปานกลาง - ค้นคว้าด้วยตนเองตามที่อาจารย์มอบหมายบ้าง

- มีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะทำให้การอภิปรายกลุ่มย่อยเป็นไปอย่างราบรื่น



- มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่มบ้าง

- มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม



- ผลงานมีคุณภาพในระดับปานกลาง - ค้นคว้าด้วยตนเองตามที่อาจารย์มอบหมาย



- มีข้อมูลที่เพียงพอที่จะทำให้การอภิปรายกลุ่มย่อยเป็นไปอย่างราบรื่น



- มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่ม





- มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม

- ผลงานมีคุณภาพในระดับดี - ค้นคว้าด้วยตนเองตามที่อาจารย์มอบหมายอย่างสม่ำเสมอ

- มีข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัยมากเพียงพอที่จะทำให้การอภิปรายกลุ่มย่อยเป็นไปอย่างราบรื่น

- มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่มอย่างเต็มที่

- มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม

- ผลงานมีคุณภาพในระดับดีมาก





7. เกณฑ์ในการให้คะแนนแบบฝึกปฏิบัติ (10 คะแนน)

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

9-10 = A ทำแบบฝึกปฏิบัติเรียบร้อย สะอาด ลายมืออ่านง่าย ถูกต้องและครบถ้วนทั้งหมด และส่งตามกำหนดเวลา

7-8 = B ทำแบบฝึกปฏิบัติ ถูกต้องบางส่วนแต่ครบถ้วนทั้งหมด และส่งตามกำหนดเวลา

6 = C ทำแบบฝึกปฏิบัติไม่ถูกต้องบางส่วน หรือไม่ครบถ้วน และส่งตามกำหนดเวลา

1-5= D ทำแบบฝึกปฏิบัติไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน ลายมืออ่านไม่ออก สกปรก ลอกเพื่อน และส่งล่าช้า

0 = F ไม่ส่ง























8. เกณฑ์สรุปการประเมินผลการเรียน

เกรด คะแนน เกณฑ์การพิจารณา

A 90 – 100 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับดีเยี่ยม สามารถเป็นตัวอย่างได้

B+ 85-89 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับดีมาก

B 75-84 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับดีมาก แต่ขาดความสม่ำเสมอ

C+ 70-74 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับดี

C 60-69 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับดี แต่ขาดความตั้งใจ

D+ 55-59 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับปานกลาง

D 50-54 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับปานกลาง และขาดความตั้งใจ

F 0-49 มีผลการเรียน และการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับที่ไม่น่าพอใจ



9. เอกสารที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า

8.1 บุญเสริม บุญเจริญผล. 2549. คลื่นลูกที่สามของทอฟเฟลอร์[Online]. Available:http://www krirk.ac.th/education/ dr_boonserm/G

8.2 ณัฐพงศ์ บุญเหลือ. 2549. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ [Online]. Available:http://www. midnightuniv .org/ midnight2545/document95184.html

8.3 ยุค ศรีอาริยะ. 2541. มายาโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

8.4 สังศิต พิริยะรังสรรค์ และ ผาสุก พงษ์ไพจิตร. 2538. โลกาภิวัตน์กับสังคมเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร: 179 การพิมพ์.

8.5 จินตนา สุจจานันท์. 2548. ปัญหาความยากจนในศตวรรษที่ 21. ใน วิทยาสารกําแพงแสน ปีที่ 3 ฉบับที่ 1.

8.6 สุพจน์ บุญวิเศษ. 2546. การเมืองการปกครองไทยในบริบทโลกาภิวัตน์. บทความเสนอในการประชุมทางวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 4 (พ.ศ. 2546). ศูนย์การประชุมไบเทค. กรุงเทพมหานคร. หน้า 336-337.

8.7 รอฮีม ปรามาท. 2549. ประชากรโลก: ดุลยภาพที่ผันแปร[Online]. Available: http://www. rakbankerd.com/01_jam /thaiinfor/ country_info/index.html

8.8 นิศารัตน์ ศิลปเดช. 2540. ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์.วัชรินทร์ สายสาระ. 2549.

8.9 โลกาภิวัตน์ : การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกสู่สังคมไทย [Online]. Available:http://web.lru.ac.th/ ~303006/Grobal.doc

8.10 จิรากรณ์ คชเสนี. (2544). มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

8.11 ซูซูมุ โยดะ. (2546). ไตรวิกฤต ปัญหาหลัก 3 ประการที่กำลังคุกคามการอยู่รอดของโลก.

(แปลจาก TRILEMMA : Three Major Problems Threatening World Survival โดย ทวีป ชัยสมภพ).กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

8.12 เลสเตอร์ อาร์. บราวน์. (2545). สิ่งท้าทายแห่งศตวรรษใหม่ในสภาวการณ์โลก 2000 (แปลจาก STATE OF THE WORLD 2000 โดย ประสาน ต่างใจ). กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

8.13 อิสริยา บุญญะศิริ. (2548). การเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนาของโลกต่อทิศทางการพัฒนาประเทศไทย. วารสารเศรษฐกิจและสังคม,42 (3), 50-53.

8.14 มารยาท สมุทรสาคร. (2548). ประเทศไทยจะสร้างฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืนได้อย่างไร.วารสารเศรษฐกิจและสังคม,42 (3), 54-58

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น